Back
Image Alt

ตุลาคม 2021

ความรู้ความเข้าใจถึงประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์ ในจังหวัดเชียงใหม่ อันได้แก่ ปะกาเกอะญอ (กะเหรี่ยง) ลีซอ (ลีซู) ลาหู่ (มูเชอ) อ่าขา (อีก้อ) เมี่ยน (เย้า) ม้ง (แม้ว) ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์ได้มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในเรื่องของการแต่งกายที่มีอัตลักษณ์อันโดดเด่นกันออกไป ซึ่งชุดเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายทั้งหมดเป็นงานฝีมือที่ได้ลงมือทำและสร้างสรรค์จากรุ่นสู่รุ่น

โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านขององค์กร UNESCO (Chiang Mai City of Crafts and Folk Art) ร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบเชียงใหม่

งานเฉลิมฉลองครบรอบ1 ปีของการเป็นสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้านในพิธีเฉลิมฉลองได้รับเกียรติจากผู้แทนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ คุณวรรณศรี ปัญญาประชุมผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

รับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม Workshop ทั้ง 4 กิจกรรมของเรา ในงาน Chiang Mai Crafts Fiar 2018 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 8 – 16 ธันวาคม 2561 นี้!! ณ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่

กิจกรรมในครั้งนี้เป็นการจัดกิจกรรมที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก การปักผ้าฝ้ายบ้านสันก้างปลา อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีเทคนิคการปักผ้าฝ้าย

ผ้าเขียนเทียน ใยกัญชง ของกลุ่มชาติพันธ์ม้ง ดอยปุย นั้นมีความเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธ์ม้งเป็นอย่างมาก คือมีการใช้ผ้าเขียนเทียนใยกัญชงเป็นเครื่องนุ่งห่ม เครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ต่าง ๆ ของกลุ่มชาติพันธ์ม้ง อาทิ กระเป๋า รองเท้า เป็นต้น เนื่องด้วยกลุ่มชาติพันธ์ม้งมีการปลูกพืชใยกัญชงเป็นจำนวนมาก

ลีซอ ได้ชื่อว่าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่แต่งกายมีสีสันสดใสและหลากสีมากที่สุดในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมด ความกล้าในการตัดสินใจ และความเป็นอิสระจนสะท้อนออกมาให้เห็นจากการใช้สีตัดกันอย่างรุนแรงของเครื่องแต่งกาย ปัจจุบันคนภายนอกมักเรียกกลุ่มชาติพันธุ์นี้ว่า “ลีซอ”

กิจกรรมนี้เป็นการรวบรวมงาน Workshop ที่ผ่านมาของโครงการฯ เพื่อพัฒนาการออกแบบงานหัตถกรรม ความคิดสร้างสรรค์จากทุนทางวัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม่ จะมีคุณลักษณะ 3 ประการที่ยังยึดโยงกันอยู่ ซึ่งเกิดจากการพัฒนาทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เชื่อมโยงจากระดับหมู่บ้านสู่เมือง และเป็นแรงขับเคลื่อนสู่การสร้างสรรค์ ให้เชียงใหม่นั้นบานสะพรั่งด้วยงานหัตถศิลป์พร้อมการเคลื่อนตัวของเมืองอุตสาหกรรมสร้างสรรค์

ในการจัดงานครั้งนี้ วัดต้นเกว๋น ชุมชนต้นเกว๋นและใกล้เคียง สถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO

“Hakata Magemono” เป็นหนึ่งในเทคนิคงานไม้ จากภูมิปัญญาโบราณของญี่ปุ่นที่ได้ความนิยมอย่างมากในยุคเอโดะ